เทคนิค CANSLIM คืออะไร?? คำถาม ลอยมาหา หลังจากมีหนังสือแปล เรื่องนี้ออกมา และมีหลายๆ คนพูดถึง ... ก็ขอตอบ อธิบายให้เข้าใจกัน
CANSLIM เป็นระบบวิธีการเลือกบริษัทในการซื้อหุ้นลงทุน คิดโดย William J. O'Neil เป็นผู้ก่อตั้ง และเป็นประธานของหนังสือพิมพ์ธุรกิจชื่อ Investor’s Business Daily ด้วยวิธีของเขา ทำให้เขาสามารถทำเงินจากตลาดในช่วงปี 1953 ถึง 1990 ได้อย่างมหาศาล โดยมีการแบ่งเป็นประเด็นในการพิจารณาตามตัวอักษร มีทั้งหมด 7 ด้าน ได้แก่
C - Current quarterly earnings per share
เป็นการเปรียบเทียบกำไรต่อหุ้น (EPS) ของ Quarter ปัจจุบันกับ Quarter เดียวกันของปีที่แล้ว เช่น ปัจจุบันเป็น Q1/2015 ก็เทียบกับ Q1/2014
A – Annual Earnings Growth
ดูการเติบโตของผลกำไรต่อเนื่องตลอด 5 ปีสุดท้าย ควรมีการสะสมเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตลอด 5 ปีสุดท้าย
N – New Product, New Management or New High
หมายถึง การมีสินค้าใหม่ บริการใหม่ หรือเทคโนโลยีใหม่ มานำเสนอให้กับลูกค้า หรือผู้บริหารใหม่ ทีมบริหารใหม่ ผู้ร่วมทุนรายใหม่ นโยบายการบริหารใหม่ หรือราคาทำ New High
S – Small Supply Large Demand Shares Outstanding
หมายถึง ปริมาณหุ้นที่มีให้ซื้อขายได้ในตลาด การที่มีหุ้นซื้อขายในตลาดน้อย (Low Supply) เมื่อหุ้นมีความต้องการจากนักลงทุนมากขึ้น (High Demand) ราคาจะขยับเพิ่มขึ้นได้รวดเร็ว ดังนั้นหากเทียบหุ้น 2 บริษัท ที่มีสภาวะอื่นเหมือนกันทุกอย่าง ปริมาณหุ้นของกิจการที่มีน้อยกว่า จะมีโอกาสวิ่งเพิ่มขึ้นได้รวดเร็วกว่า
L – Leader
เลือกหุ้นที่เป็นผู้นำในกลุ่มอุตสาหกรรม หรือมีสภาพแข็งแกร่งกว่าตลาด หรือหุ้นตัวอื่นในกลุ่มเดียวกัน
I – Institutional Sponsorship
เลือกหุ้นที่มีกลุ่มสถาบันการเงิน ธนาคาร กองทุนต่างชาติ หรือ Thai NVDR เหล่านี้ เข้ามาซื้อถือลงทุน
M – Market Decision
ทิศทางของตลาด เป็นสิ่งสำคัญอีกองค์ประกอบ ต่อให้ทุกอย่างดีหมด แต่ถ้าสภาพตลาดเริ่มเป็นขาลง หรือซึมเซาออกข้าง หรือขึ้นมาสูงมากจนไปต่อยากแล้ว นักลงทุนมีความกลัวกังวลในการเข้าซื้อหุ้น ก็อาจจะไม่ใช่จังหวะที่ดีในการเข้าซื้อหุ้นก็ได้
ถ้าจะนำเทคนิค CANSLIM ไปใช้ มีข้อแนะนำอย่างนี้
การใช้ CANSLIM เลือกหุ้นจะเหมาะสำหรับการซื้อหุ้น เพื่อถือลงทุนระยะกลาง ถึงระยะยาว ไม่เหมาะกับการซื้อขายหุ้นทำกำไรเป็นรอบ แบบ Swing Trade หรือเล่นเก็งกำไรระยะสั้น เพราะมีองค์ประกอบในการเลือกหุ้นที่ค่อนข้างผสมผสานทั้งปัจจัยพื้นฐาน และการวิเคราะห์ทางเทคนิค จะสามารถเลือกหุ้นที่ราคาสามารถขยับเพิ่มขึ้นได้ดีไปพร้อมกับการเติบโตของกิจการที่มั่นคงจริงๆ
จากประสบการณ์การนำมาใช้ในการเลือกหุ้นจริงๆ ที่ผ่าน ค่อนข้างได้ประโยชน์มาก เพราะจะสามารถได้หุ้นที่สามารถถือลงทุนในระยะ 6 เดือน ถึง 18 เดือน และให้ผลตอบแทนออกมาได้ดี อธิบายรายละเอียดแต่ละข้ออย่างนี้
C - Current quarterly earnings per share
กิจการที่น่าสนใจ O'Neil แนะนำว่า การเปรียบเทียบกำไรต่อหุ้น (EPS) ของ Quarter ปัจจุบันกับ Quarter เดียวกันของปีที่แล้ว ให้ดูว่า ควรจะมี Quarter EPS โตขึ้น อย่างน้อย 20% เมื่อเทียบกับ EPS ใน Quarter เดียวกันของปีที่แล้ว แสดงให้เห็นการเติบโตของกิจการเพิ่มขึ้นอย่างน่าสนใจ เช่น Q1/2014 เทียบกับ Q1/2015 วิธีนี้เป็นการสะท้อนผลดำเนินการของกิจการในแต่ละช่วงของปี เพราะแต่ละกิจการจะมีช่วงขายดี และขายไม่ดี ในแต่ละฤดูกาล
A – Annual Earnings Growth
เป็นดูการเติบโตของผลกำไรต่อเนื่องตลอด 5 ปีสุดท้าย ควรมีการสะสมเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตลอด 5 ปีสุดท้าย เติบโตสะสม 25%-50% ภายใน 5 ปี อาจมีสัก 1 ปี ที่มีการชะลอการเติบโต แต่ต้องไม่ใช่ปีล่าสุด หรืออาจมีอัตราการเติบโตของผลกำไรต่อปี เฉลี่ยเติบโต 10%-15% ต่อปี ถ้าจะให้ดี 5 ปีที่แล้ว ผลประกอบการอาจจะติดลบขาดทุนก็ได้ แล้วพลิกกลับมามีกำไรนิดหน่อย หรือติดลบนิดหน่อยในปีถัดมา แล้วเติบโตต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ก็จะกลายเป็น Turn Around Stock ที่น่าสนใจทีเดียว
อาจใช้วิธีการในบทความนี้
เล่นหุ้นด้วย Technical ดู P/E Ratio ไหมการใช้ CANSLIM เลือกหุ้นจะเหมาะสำหรับการซื้อหุ้น เพื่อถือลงทุนระยะกลาง ถึงระยะยาว ไม่เหมาะกับการซื้อขายหุ้นทำกำไรเป็นรอบ แบบ Swing Trade หรือเล่นเก็งกำไรระยะสั้น เพราะมีองค์ประกอบในการเลือกหุ้นที่ค่อนข้างผสมผสานทั้งปัจจัยพื้นฐาน และการวิเคราะห์ทางเทคนิค จะสามารถเลือกหุ้นที่ราคาสามารถขยับเพิ่มขึ้นได้ดีไปพร้อมกับการเติบโตของกิจการที่มั่นคงจริงๆ
จากประสบการณ์การนำมาใช้ในการเลือกหุ้นจริงๆ ที่ผ่าน ค่อนข้างได้ประโยชน์มาก เพราะจะสามารถได้หุ้นที่สามารถถือลงทุนในระยะ 6 เดือน ถึง 18 เดือน และให้ผลตอบแทนออกมาได้ดี อธิบายรายละเอียดแต่ละข้ออย่างนี้
C - Current quarterly earnings per share
กิจการที่น่าสนใจ O'Neil แนะนำว่า การเปรียบเทียบกำไรต่อหุ้น (EPS) ของ Quarter ปัจจุบันกับ Quarter เดียวกันของปีที่แล้ว ให้ดูว่า ควรจะมี Quarter EPS โตขึ้น อย่างน้อย 20% เมื่อเทียบกับ EPS ใน Quarter เดียวกันของปีที่แล้ว แสดงให้เห็นการเติบโตของกิจการเพิ่มขึ้นอย่างน่าสนใจ เช่น Q1/2014 เทียบกับ Q1/2015 วิธีนี้เป็นการสะท้อนผลดำเนินการของกิจการในแต่ละช่วงของปี เพราะแต่ละกิจการจะมีช่วงขายดี และขายไม่ดี ในแต่ละฤดูกาล
A – Annual Earnings Growth
เป็นดูการเติบโตของผลกำไรต่อเนื่องตลอด 5 ปีสุดท้าย ควรมีการสะสมเพิ่มขึ้นต่อเนื่องตลอด 5 ปีสุดท้าย เติบโตสะสม 25%-50% ภายใน 5 ปี อาจมีสัก 1 ปี ที่มีการชะลอการเติบโต แต่ต้องไม่ใช่ปีล่าสุด หรืออาจมีอัตราการเติบโตของผลกำไรต่อปี เฉลี่ยเติบโต 10%-15% ต่อปี ถ้าจะให้ดี 5 ปีที่แล้ว ผลประกอบการอาจจะติดลบขาดทุนก็ได้ แล้วพลิกกลับมามีกำไรนิดหน่อย หรือติดลบนิดหน่อยในปีถัดมา แล้วเติบโตต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน ก็จะกลายเป็น Turn Around Stock ที่น่าสนใจทีเดียว
อาจใช้วิธีการในบทความนี้
มาช่วยในการหาตัวอักษร C และ A ได้
N – New Product, New Management or New High
คำว่า ‘New’ หรือ “ใหม่” จากการมีสินค้าใหม่ บริการใหม่ หรือเทคโนโลยีใหม่ มานำเสนอให้กับลูกค้า หรือมี ผู้บริหารใหม่ ทีมบริหารใหม่ หรือผู้ร่วมทุนรายใหม่ ผู้ร่วมธุรกิจรายใหม่ รวมถึงนโยบายการบริหารใหม่
สิ่งใหม่ๆ เหล่านี้ มักจะมีผลกระทบ กับผลประกอบการของกิจการในแง่บวก ทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต ซึ่งก็จะกระทบถึงความคาดหวังของนักลงทุนในตลาดด้วย จะได้เห็นราคาหุ้นมีการทำ New High ราคาวิ่งข้ามยอดสูงในอดีต หรืออาจจะเป็น All Time High ไปเลยก็ได้
ในรายงานประกอบงบ 56-1 ของปี 2557 แสดงให้เห็นว่า มี NEW PRODUCT ซึ่งมีความสำคัญต่อผลการดำเนินธุรกิจเป็นอย่างมาก เพราะว่า เป็นสินค้าที่ กรมทางหลวงได้กำหนด เป็นมาตราฐานผลิตภัณฑ์ ซึ่งทาง TASCO เป็นผู้ผลิตรายแรกในประเทศไทย ที่กรมทางหลวงให้การรับรอง ในขณะนั้น
และยังมีข่าวโครงการ ในการพัฒนาปรับปรุง ถนน อีกมากมายหลายโครงการตามออกมา
ก็แปลว่า ใครได้งานโครงการมา ก็ต้องมาซื้อผลิตภัณฑ์ตัวนี้
S – Small Supply Large Demand Shares Outstanding
การที่มีหุ้นซื้อขายในตลาดน้อยลง (Low Supply) เมื่อหุ้นมีความต้องการจากนักลงทุนมากขึ้น (High Demand) ราคาจะขยับเพิ่มขึ้นได้รวดเร็วเป็นเรื่องปกติที่นักลงทุนจะต้องเข้าใจอยู่แล้ว ดังนั้นหากเทียบหุ้น 2 บริษัท ที่มีสภาวะอื่นเหมือนกันทุกอย่าง ปริมาณหุ้นของกิจการที่มีน้อยกว่า จะมีโอกาสวิ่งเพิ่มขึ้นได้รวดเร็วกว่า
จากประสบการณ์ส่วนตัวในการใช้งานในหลายปีที่ผ่านมา องค์ประกอบในการพิจารณาอาจจะมีหลายอย่าง เช่น จำนวนหุ้นทั้งหมดของบริษัท, สัดส่วนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่, สัดส่วนของผู้ถือหุ้นรายย่อย (%Free Float) ข่าวการซื้อหุ้นคืนของกิจการ หรือการขายหุ้นของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือดูจาก Debt per Equity Ratio (D/E ratio) ที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น/ลดลงในแต่ละไตรมาส ข้อมูลพวกนี้จะแสดงโอกาสที่หุ้นจะมีสภาพ “เบา” ได้
ดังนั้น การแต่พาร์ หรือการเพิ่มทุน แจก Warrants การทำให้จำนวนหุ้นเพิ่มขึ้น ก็อาจจะไม่เป็นผลดีในระยะยาวก็ได้ เพราะถ้าจำนวนหุ้นเพิ่มมากเกินกว่าที่ตลาดต้องการจนกลายเป็น High Supply แล้ว โอกาสที่ราคาหุ้นจะวิ่งเพิ่มขึ้นได้ดีก็อาจจะลดลง จะกลายเป็นหุ้นที่มีสภาพ “หนัก” จะข้าม Bid-Offer แต่ละช่องยากเย็นแสนเข็ญ จะลาก จะยก ก็ลำบาก (เอ๊ะ... ยังไง)
ก่อนหน้าที่จะแตกพาร์ %Free Float ของ TASCO มีเพียง 20% กว่า เท่านั้น ถือว่ามีสภาพหุ้นค่อนข้างเบา จึงมีโอกาสทะยานขึ้นได้เร็วมาก แต่ล่าสุดหลังจากแตกพาร์ แล้ว %Free Float อยู่ราว 30% กว่า เริ่มมีนำ้หนักมากขึ้น จำนวนหุ้นมีมากขึ้น 10 เท่า ราคาก็จะไปได้ช้าลง
แต่ EPS โดขึ้นมากมาย สังเกตุจาก กำไรสุทธิ ในไตรมาส 01/58 เพียงไตรมาสเดียว ก็เกือบเท่า กำไรสุทธิของ ปี 2557 ทั้งปีแล้ว เพียงแต่ จำนวนหุ้นมาขึ้นจากการแตกพาร์ จึงมี EPS ที่ลดลง
และทำให้ D/E ลดลงอย่างเห็นได้ชัด
ปี 2557 D/E = 1.51 แต่เฉพาะ Q1/2558 D/E = 0.99 เท่านั้น แสดงว่า มีสภาพหนี้สินต่อทุน ลดลงมากมาย
สรุป คือ ช่วงก่อน แตกพาร์ เป็นช่วงที่ น่าเข้าซื้อมากที่สุด หลังจาก แตกพาร์แล้ว ก็ยังน่าสนใจราคาอาจจวิ่งช้าลง และเหวี่ยงมากขึ้น
L – Leader
เลือกหุ้นที่เป็นผู้นำในกลุ่มอุตสาหกรรม หรือมีสภาพแข็งแกร่งกว่าตลาด หรือหุ้นตัวอื่นในกลุ่มเดียวกัน
กิจการที่เป็นรายใหญ่ของกลุ่มธุรกิจเดียวกัน มีส่วนแบ่งการตลาดสูง (High Market Sharing) สะท้อนความแข็งแกร่งของกิจการได้ดี
ส่วนสภาพราคาหุ้นที่แข็งแกร่งกว่าตลาด หรือแข็งแกร่งกว่าหุ้นอื่นในกลุ่มเดียวกัน สามารถใช้วิธีทาง
เทคนิคอล ทำการเปรียบเทียบ Relative Strength ได้ เทียบราคาหุ้นกับกลุ่มอุตสาหกรรม หรือเทียบราคาหุ้นกับราคาหุ้นอีกตัวก็ได้ ราคาหุ้นที่แข็งแกร่งเวลาราคาขึ้นจะขึ้นได้ดี เวลาตลาดถอยราคาหุ้นก็จะถอยน้อยกว่า
หุ้นที่แข็งแกร่งกว่าตลาด คือหุ้นที่ราคาวิ่งขึ้นในอัตราส่วนที่มากกว่าตลาดขยับตัวขึ้น และในเวลาที่ตลาดขยับตัวถดถอย ราคาหุ้นก็ถอยตัวลงน้อยกว่าตลาด หุ้นประเภทนี้ จะมีแนวโน้มที่จะถือ Run Trend ได้ดี เพราะวิ่งขึ้นแรง และถอยตัวน้อย
วิธีดูคือ ใช้ Relative Strength จะเป็นการเทียบการเคลื่อนที่ของกราฟ ราคาหุ้นสองอย่างเข้าด้วยกัน เช่นเทียบ ราคาหุ้น กับ Index ว่า ราคาหุ้น หรือ SET index อะไรที่มีการเคลื่อนที่ได้แข็งแรงกว่ากัน หรือเทียบราคาหุ้น กับ Sector Index หรือ จะเทียบราคาหุ้น 2 สองตัวก็ได้ ทำโดยการจับ กราฟหุ้นที่เราต้องการดู หารด้วยกราฟของสิ่งที่เราต้องการเทียบ เช่น อยากดูว่า KBANK เทียบกับ SET ว่าเป็นอย่างไร ก็ เอา KBANK / SET ก็จะได้กราฟเส้น ตามภาพตัวอย่าง
แสดงว่า KBANK ในช่วงแรกมีแนวโน้มแข็งแกร่งกว่าตลาด เพราะเส้น RS – Relative Strength เคลื่อนที่ยกตัวขึ้น ในขณะที่ช่วงหลัง เส้น RS เริ่มมีแนวโน้ม ถดถอยลง แสดงว่า KBANK ช่วงหลังเริ่มอ่อนแรงกว่า SET แล้ว ในช่วงหลังจึงไม่ค่อยน่าสนใจที่จะเข้าไปลงทุนเท่ากับในช่วงแรก
จะเห็นว่า จากกราฟ ในกรอบสีแดง ราคาวิ่งขึ้นต่อเนื่อง แต่ P/E ลดฮวบ จาก 22 กว่าเหลือ 12 กว่า จากการประกาศผลประกอบการ แล้ว EPS เพิ่มมากขึ้น อย่างมาก ทำให้ P/E ลดลงอย่างรวดเร็ว
N – New Product, New Management or New High
คำว่า ‘New’ หรือ “ใหม่” จากการมีสินค้าใหม่ บริการใหม่ หรือเทคโนโลยีใหม่ มานำเสนอให้กับลูกค้า หรือมี ผู้บริหารใหม่ ทีมบริหารใหม่ หรือผู้ร่วมทุนรายใหม่ ผู้ร่วมธุรกิจรายใหม่ รวมถึงนโยบายการบริหารใหม่
สิ่งใหม่ๆ เหล่านี้ มักจะมีผลกระทบ กับผลประกอบการของกิจการในแง่บวก ทั้งในปัจจุบัน และในอนาคต ซึ่งก็จะกระทบถึงความคาดหวังของนักลงทุนในตลาดด้วย จะได้เห็นราคาหุ้นมีการทำ New High ราคาวิ่งข้ามยอดสูงในอดีต หรืออาจจะเป็น All Time High ไปเลยก็ได้
ในรายงานประกอบงบ 56-1 ของปี 2557 แสดงให้เห็นว่า มี NEW PRODUCT ซึ่งมีความสำคัญต่อผลการดำเนินธุรกิจเป็นอย่างมาก เพราะว่า เป็นสินค้าที่ กรมทางหลวงได้กำหนด เป็นมาตราฐานผลิตภัณฑ์ ซึ่งทาง TASCO เป็นผู้ผลิตรายแรกในประเทศไทย ที่กรมทางหลวงให้การรับรอง ในขณะนั้น
และยังมีข่าวโครงการ ในการพัฒนาปรับปรุง ถนน อีกมากมายหลายโครงการตามออกมา
ก็แปลว่า ใครได้งานโครงการมา ก็ต้องมาซื้อผลิตภัณฑ์ตัวนี้
S – Small Supply Large Demand Shares Outstanding
การที่มีหุ้นซื้อขายในตลาดน้อยลง (Low Supply) เมื่อหุ้นมีความต้องการจากนักลงทุนมากขึ้น (High Demand) ราคาจะขยับเพิ่มขึ้นได้รวดเร็วเป็นเรื่องปกติที่นักลงทุนจะต้องเข้าใจอยู่แล้ว ดังนั้นหากเทียบหุ้น 2 บริษัท ที่มีสภาวะอื่นเหมือนกันทุกอย่าง ปริมาณหุ้นของกิจการที่มีน้อยกว่า จะมีโอกาสวิ่งเพิ่มขึ้นได้รวดเร็วกว่า
จากประสบการณ์ส่วนตัวในการใช้งานในหลายปีที่ผ่านมา องค์ประกอบในการพิจารณาอาจจะมีหลายอย่าง เช่น จำนวนหุ้นทั้งหมดของบริษัท, สัดส่วนของผู้ถือหุ้นรายใหญ่, สัดส่วนของผู้ถือหุ้นรายย่อย (%Free Float) ข่าวการซื้อหุ้นคืนของกิจการ หรือการขายหุ้นของผู้ถือหุ้นรายใหญ่ หรือดูจาก Debt per Equity Ratio (D/E ratio) ที่เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น/ลดลงในแต่ละไตรมาส ข้อมูลพวกนี้จะแสดงโอกาสที่หุ้นจะมีสภาพ “เบา” ได้
ดังนั้น การแต่พาร์ หรือการเพิ่มทุน แจก Warrants การทำให้จำนวนหุ้นเพิ่มขึ้น ก็อาจจะไม่เป็นผลดีในระยะยาวก็ได้ เพราะถ้าจำนวนหุ้นเพิ่มมากเกินกว่าที่ตลาดต้องการจนกลายเป็น High Supply แล้ว โอกาสที่ราคาหุ้นจะวิ่งเพิ่มขึ้นได้ดีก็อาจจะลดลง จะกลายเป็นหุ้นที่มีสภาพ “หนัก” จะข้าม Bid-Offer แต่ละช่องยากเย็นแสนเข็ญ จะลาก จะยก ก็ลำบาก (เอ๊ะ... ยังไง)
ก่อนหน้าที่จะแตกพาร์ %Free Float ของ TASCO มีเพียง 20% กว่า เท่านั้น ถือว่ามีสภาพหุ้นค่อนข้างเบา จึงมีโอกาสทะยานขึ้นได้เร็วมาก แต่ล่าสุดหลังจากแตกพาร์ แล้ว %Free Float อยู่ราว 30% กว่า เริ่มมีนำ้หนักมากขึ้น จำนวนหุ้นมีมากขึ้น 10 เท่า ราคาก็จะไปได้ช้าลง
แต่ EPS โดขึ้นมากมาย สังเกตุจาก กำไรสุทธิ ในไตรมาส 01/58 เพียงไตรมาสเดียว ก็เกือบเท่า กำไรสุทธิของ ปี 2557 ทั้งปีแล้ว เพียงแต่ จำนวนหุ้นมาขึ้นจากการแตกพาร์ จึงมี EPS ที่ลดลง
และทำให้ D/E ลดลงอย่างเห็นได้ชัด
ปี 2557 D/E = 1.51 แต่เฉพาะ Q1/2558 D/E = 0.99 เท่านั้น แสดงว่า มีสภาพหนี้สินต่อทุน ลดลงมากมาย
สรุป คือ ช่วงก่อน แตกพาร์ เป็นช่วงที่ น่าเข้าซื้อมากที่สุด หลังจาก แตกพาร์แล้ว ก็ยังน่าสนใจราคาอาจจวิ่งช้าลง และเหวี่ยงมากขึ้น
L – Leader
เลือกหุ้นที่เป็นผู้นำในกลุ่มอุตสาหกรรม หรือมีสภาพแข็งแกร่งกว่าตลาด หรือหุ้นตัวอื่นในกลุ่มเดียวกัน
กิจการที่เป็นรายใหญ่ของกลุ่มธุรกิจเดียวกัน มีส่วนแบ่งการตลาดสูง (High Market Sharing) สะท้อนความแข็งแกร่งของกิจการได้ดี
ส่วนสภาพราคาหุ้นที่แข็งแกร่งกว่าตลาด หรือแข็งแกร่งกว่าหุ้นอื่นในกลุ่มเดียวกัน สามารถใช้วิธีทาง
เทคนิคอล ทำการเปรียบเทียบ Relative Strength ได้ เทียบราคาหุ้นกับกลุ่มอุตสาหกรรม หรือเทียบราคาหุ้นกับราคาหุ้นอีกตัวก็ได้ ราคาหุ้นที่แข็งแกร่งเวลาราคาขึ้นจะขึ้นได้ดี เวลาตลาดถอยราคาหุ้นก็จะถอยน้อยกว่า
หุ้นที่แข็งแกร่งกว่าตลาด คือหุ้นที่ราคาวิ่งขึ้นในอัตราส่วนที่มากกว่าตลาดขยับตัวขึ้น และในเวลาที่ตลาดขยับตัวถดถอย ราคาหุ้นก็ถอยตัวลงน้อยกว่าตลาด หุ้นประเภทนี้ จะมีแนวโน้มที่จะถือ Run Trend ได้ดี เพราะวิ่งขึ้นแรง และถอยตัวน้อย
วิธีดูคือ ใช้ Relative Strength จะเป็นการเทียบการเคลื่อนที่ของกราฟ ราคาหุ้นสองอย่างเข้าด้วยกัน เช่นเทียบ ราคาหุ้น กับ Index ว่า ราคาหุ้น หรือ SET index อะไรที่มีการเคลื่อนที่ได้แข็งแรงกว่ากัน หรือเทียบราคาหุ้น กับ Sector Index หรือ จะเทียบราคาหุ้น 2 สองตัวก็ได้ ทำโดยการจับ กราฟหุ้นที่เราต้องการดู หารด้วยกราฟของสิ่งที่เราต้องการเทียบ เช่น อยากดูว่า KBANK เทียบกับ SET ว่าเป็นอย่างไร ก็ เอา KBANK / SET ก็จะได้กราฟเส้น ตามภาพตัวอย่าง
แสดงว่า KBANK ในช่วงแรกมีแนวโน้มแข็งแกร่งกว่าตลาด เพราะเส้น RS – Relative Strength เคลื่อนที่ยกตัวขึ้น ในขณะที่ช่วงหลัง เส้น RS เริ่มมีแนวโน้ม ถดถอยลง แสดงว่า KBANK ช่วงหลังเริ่มอ่อนแรงกว่า SET แล้ว ในช่วงหลังจึงไม่ค่อยน่าสนใจที่จะเข้าไปลงทุนเท่ากับในช่วงแรก
อีกตัวอย่างเป็น ITD จะเห็นว่าเมื่อนำ ITD/SET ได้กราฟเส้น RS ออกมา จะเห็นการเปลี่ยนแปลงของเส้น เป็น Trend Up แสดงว่า ITD ยังมีความแข็งแรงของราคาหุ้น ราคาขยับขึ้นเรื่อยๆ แม้ SET จะชะลอตัวก็ตาม
I – Institutional Sponsorship
เลือกหุ้นที่มีกลุ่มสถาบันการเงินเข้ามาซื้อถือลงทุน จะมีน้ำหนักของความน่าเชื่อถือสูงมากกว่า มีชื่อคนธรรมดาที่เป็นรายใหญ่เข้ามาถือหุ้น เพราะสถาบันเหล่านี้จะมีขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงในการลงทุน และเมื่อซื้อหุ้นลงทุนแล้วจะไม่ซื้อขายเปลี่ยนแปลงบ่อย เป็นอีกข้อในการยืนยันได้ระดับหนึ่งว่าราคาจะไม่เหวี่ยงรุนแรง
สถาบันการเงิน ธนาคาร กองทุนต่างชาติ หรือ Thai NVDR เหล่านี้ เมื่อเข้าซื้อเพื่อหวังลงทุน จะไม่ซื้อขายเข้าออกบ่อยๆ เหมือนรายย่อย ดังนั้นหากสัดส่วนกลุ่มนี้เข้ามาซื้อหุ้นจะไม่ค่อยเกี่ยงราคา และจำนวนเม็ดเงินที่เข้าซื้อมีจำนวนมาก เวลาเข้าซื้อจะดันราคาขึ้นมาได้ดี และเมื่อซื้อจนถึงระดับที่ เรียกว่า “Over Owned” จำนวนหุ้นหายไปจากตลาดกลายเป็น ใครๆ ก็ซื้อถือ ไม่มีใครขาย หุ้นตัวนั้นจะขาดสภาพคล่อง ราคาจะกลายเป็นไม่ขยับ
ดังนั้นรายย่อยที่จะเข้าซื้อ ควรเข้าซื้อให้เร็วก่อน เข้าช่วงที่สถาบันเหล่านี้ เพิ่งเข้าซื้อในช่วงแรก ถ้าซื้อช้าอาจจะกลายเป็นซื้อราคาสูงเกินไป
M – Market Decision
ต่อให้สภาพของหุ้นทุกอย่างดีหมด แต่ถ้าสภาพตลาดเป็นขาลง หรือซึมเซาออกข้าง นักลงทุนมีความกลัวกังวลในการเข้าซื้อหุ้น ก็อาจจะไม่ใช่จังหวะที่ดีในการเข้าซื้อหุ้นก็ได้
อีกบริเวณที่ต้องระวังของสภาพตลาดที่ขึ้นต่อเนื่องมาจนสูงมากแล้ว ที่พร้อมจะถดถอยลงได้ทุกเมื่อหากมีเหตุการณ์อะไรเข้ามากระทบ ซึ่งการจะมองสภาพทิศทางตลาดให้ได้ชัดเจน การใช้ Technical Analysis ดูกราฟในภาพใหญ่อย่าง Weekly Chart, Monthly Chart จะสามารถช่วยประกอบการตัดสินใจได้ดีมาก
การเข้าซื้อหุ้นที่ดี ในการลงทุนระยะกลางถึงยาว บางทีเลือกหุ้นได้แล้ว อาจจะต้องรอจังหวะตลาด Panic Sell จนราคาลงมาถึงระดับหนึ่งที่ถูกจนน่าเข้าซื้อแล้ว ก็จะได้ต้นทุนราคาที่ดีกว่า หรือราคาไม่ลงแต่วิ่งอยู่ใน Trading Range การเข้าไปซื้อในจังหวะที่ราคา Break Out Trading Range ก็เป็นจังหวะที่ดี เพราะซื้อแล้วราคาวิ่งเลยไม่ต้องรอนาน การใช้ Technical Analysis จึงเป็นคำตอบในการหาจังหวะอย่างนั้น
จังหวะในการเข้าซื้อ ทีดี ของ TASCO ก็เป็นช่วง ราคา 70 กว่าบาท ที่ ราคาวิ่งข้าม เส้นสีชมพูในกราฟ ขึ้นมา ซึ่งราคาวิ่งไป ถึง 142 บาท ในวันสุดท้าย ก่อน แตกพาร์ 10:1 กลายเป็นราคา 14 บาท ในวันรุ่งขึ้น
..
การใช้เทคนิค CANSLIM มาช่วยในการเลือกหุ้น จึงเป็นวิธีการ ที่ผสมผสานทั้งด้าน Fundametal และ Technical Analysis เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถ ได้หุ้นพื้นฐานดี วิ่งแรง และเติบโตอย่างมั่นคง
ใครสนใจศึกษาเพิ่มเติม สามารถ อ่านจากหนังสือ ได้ มีทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาไทยฉบับแปล
จะได้เลือกหุ้น หุ้นดี วิ่งคล่องแคล่ว สนุก เซ็กซี่ มีหุ้น แล้วมีความสุข
#WaveRiders
... Wave Riders Pui
I – Institutional Sponsorship
เลือกหุ้นที่มีกลุ่มสถาบันการเงินเข้ามาซื้อถือลงทุน จะมีน้ำหนักของความน่าเชื่อถือสูงมากกว่า มีชื่อคนธรรมดาที่เป็นรายใหญ่เข้ามาถือหุ้น เพราะสถาบันเหล่านี้จะมีขั้นตอนการประเมินความเสี่ยงในการลงทุน และเมื่อซื้อหุ้นลงทุนแล้วจะไม่ซื้อขายเปลี่ยนแปลงบ่อย เป็นอีกข้อในการยืนยันได้ระดับหนึ่งว่าราคาจะไม่เหวี่ยงรุนแรง
สถาบันการเงิน ธนาคาร กองทุนต่างชาติ หรือ Thai NVDR เหล่านี้ เมื่อเข้าซื้อเพื่อหวังลงทุน จะไม่ซื้อขายเข้าออกบ่อยๆ เหมือนรายย่อย ดังนั้นหากสัดส่วนกลุ่มนี้เข้ามาซื้อหุ้นจะไม่ค่อยเกี่ยงราคา และจำนวนเม็ดเงินที่เข้าซื้อมีจำนวนมาก เวลาเข้าซื้อจะดันราคาขึ้นมาได้ดี และเมื่อซื้อจนถึงระดับที่ เรียกว่า “Over Owned” จำนวนหุ้นหายไปจากตลาดกลายเป็น ใครๆ ก็ซื้อถือ ไม่มีใครขาย หุ้นตัวนั้นจะขาดสภาพคล่อง ราคาจะกลายเป็นไม่ขยับ
ดังนั้นรายย่อยที่จะเข้าซื้อ ควรเข้าซื้อให้เร็วก่อน เข้าช่วงที่สถาบันเหล่านี้ เพิ่งเข้าซื้อในช่วงแรก ถ้าซื้อช้าอาจจะกลายเป็นซื้อราคาสูงเกินไป
M – Market Decision
ต่อให้สภาพของหุ้นทุกอย่างดีหมด แต่ถ้าสภาพตลาดเป็นขาลง หรือซึมเซาออกข้าง นักลงทุนมีความกลัวกังวลในการเข้าซื้อหุ้น ก็อาจจะไม่ใช่จังหวะที่ดีในการเข้าซื้อหุ้นก็ได้
อีกบริเวณที่ต้องระวังของสภาพตลาดที่ขึ้นต่อเนื่องมาจนสูงมากแล้ว ที่พร้อมจะถดถอยลงได้ทุกเมื่อหากมีเหตุการณ์อะไรเข้ามากระทบ ซึ่งการจะมองสภาพทิศทางตลาดให้ได้ชัดเจน การใช้ Technical Analysis ดูกราฟในภาพใหญ่อย่าง Weekly Chart, Monthly Chart จะสามารถช่วยประกอบการตัดสินใจได้ดีมาก
การเข้าซื้อหุ้นที่ดี ในการลงทุนระยะกลางถึงยาว บางทีเลือกหุ้นได้แล้ว อาจจะต้องรอจังหวะตลาด Panic Sell จนราคาลงมาถึงระดับหนึ่งที่ถูกจนน่าเข้าซื้อแล้ว ก็จะได้ต้นทุนราคาที่ดีกว่า หรือราคาไม่ลงแต่วิ่งอยู่ใน Trading Range การเข้าไปซื้อในจังหวะที่ราคา Break Out Trading Range ก็เป็นจังหวะที่ดี เพราะซื้อแล้วราคาวิ่งเลยไม่ต้องรอนาน การใช้ Technical Analysis จึงเป็นคำตอบในการหาจังหวะอย่างนั้น
จังหวะในการเข้าซื้อ ทีดี ของ TASCO ก็เป็นช่วง ราคา 70 กว่าบาท ที่ ราคาวิ่งข้าม เส้นสีชมพูในกราฟ ขึ้นมา ซึ่งราคาวิ่งไป ถึง 142 บาท ในวันสุดท้าย ก่อน แตกพาร์ 10:1 กลายเป็นราคา 14 บาท ในวันรุ่งขึ้น
..
การใช้เทคนิค CANSLIM มาช่วยในการเลือกหุ้น จึงเป็นวิธีการ ที่ผสมผสานทั้งด้าน Fundametal และ Technical Analysis เข้าด้วยกัน ทำให้สามารถ ได้หุ้นพื้นฐานดี วิ่งแรง และเติบโตอย่างมั่นคง
ใครสนใจศึกษาเพิ่มเติม สามารถ อ่านจากหนังสือ ได้ มีทั้งภาษาอังกฤษ และภาษาไทยฉบับแปล
จะได้เลือกหุ้น หุ้นดี วิ่งคล่องแคล่ว สนุก เซ็กซี่ มีหุ้น แล้วมีความสุข
#WaveRiders
... Wave Riders Pui
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น